วันพุธที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

TEPE-00225 เรื่อง นวัตกรรมการนิเทศ การศึกษาชั้นเรียน ได้ 14/20
1. การยอมรับและให้เกียรติครูผู้รับการนิเทศหรือทีมงาน เป็นทักษะที่ใช้ในขั้นตอนใดของการนิเทศการเรียนรู้ที่มีระสิทธิภาพ
ง. ขั้นการประชุมปฏิบัติการ
2. สมรรถนะประจำสายงานของศึกษานิเทศก์คือข้อใด
ค. การสื่อสารและการจูงใจ
3. สมรรถนะหลัก (Core Competencies) ของวิชาชีพศึกษานิเทศก์ คือข้อใด
ค. การมุ่งผลสัมฤทธิ์
4. การวิเคราะห์จุดพัฒนาทำเพื่ออะไร
ค. เพื่อศึกษาปัญหาและความต้องการ
5. กระบวนการนิเทศการศึกษาแบบเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอนคืออะไร
ข. การสังเกตการสอนที่มีขั้นตอนและต่อเนื่อง
6. การใช้เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ ครูเหตุผลและความจำเป็นอย่างไร
ก. เพราะนักเรียนไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ
7. ข้อมูลจากแบบสังเกตการสอนนำมาใช้อย่างไร
ง. ถูกทุกข้อ
8. ประสบการณ์และบันทึกของครูชูใจข้อใดที่นำมาใช้กับเทคนิคการนิเทศ ”เทคนิคการ สังเกตการสอนและเยี่ยมชั้น ทำให้ผู้นิเทศมองเห็นพฤติกรรมการสอนของครู และความน่ารักตามที่นักเรียนเป็น”
ง. ถูกทุกข้อ
9. จากบันทึกของครูชูใจในข้อ 8 ศึกษานิเทศก์ ควรชี้แนะ (Coaches) และตระหนักในข้อใด
ค. ความแตกต่างของนักเรียนจะใช้วิธีสอนแบบเดี่ยวไม่ได้ ควรหาความหลากหลายและกำหนดระดับคุณภาพที่แตกต่าง
10. ครูสมพรพูดว่า “นามสกุลนี้เรียนอ่อนแทบทุกคน ถ้าเป็นสมัยก่อนก็ตกและตกอีกไม่จบ ม. 3 หรอกครับ”
ศน. ชินกร : “แล้วครูสอนแก้อย่างไร ซ่อมเสริมหรือเปล่าครับ”
ครูสมพร : “ผมไม่ได้สอนเสริมหรือมีพิเศษอะไรหรอกครับ เชื่อผลเถอะ สอนไปก็เหนื่อยเปล่า.”
คำชี้แนะหลังการเยี่ยมชั้นข้อใดที่ควรใช้ :
ข. วิชาชีพครูมีความเชื่อว่า นักเรียนทุกคนเรียนรู้ได้และพัฒนาได้แต่อาจไม่เท่ากัน
11. ข้อมูลใดในแผนการเรียนรู้ ชี้บอกและควรตระหนักให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการสอนมากที่สุด
ง. ถูกทุกข้อ
12. คุณค่าของข้อมูลในข้อ 11 ออกแบบให้ปรากฏในเครื่องมือนิเทศข้อใด
ง. บันทึกการสนทนา อภิปรายหลังการสังเกตการสอน
13. “ครูเก่งนักเรียนเก่ง ครูดีนักเรียนดี” คำกล่าวนี้สะกิดใจศึกษานิเทศก์ในเรื่องใดมากที่สุด
ข. ศน.สุเทียบ “ควรวิเคราะห์และเลือกจุดดีและจุดด้อย ปัญหาและความต้องการพัฒนาครูให้มีศักยภาพสูงส่งผลให้ครูสามารถพัฒนานักเรียนตรงกับปัญหามากที่สุด”
14. ข้อใดสร้างความมั่นใจให้ศึกษานิเทศก์ ชี้แนะ สอนงานและสังเกตการสอนของครูสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ดีที่สุด
ข. เครื่องมือการนิเทศที่หลากหลายและครบสาระการเรียนรู้
15. ข้อใด ไม่ใช่ นวัตกรรมการนิเทศการสอน
ง. นุชชวนครูอี๊ด ประดิษฐ์ตุ๊กตาผักตบชวาขายส่งร้าน OTOP
16. ครูคนใดควรได้รับการปรับปรุงการสอนมากที่สุด
ง. ครูจิ๋ว ให้จดตามคำบอกเรื่อง การหาความจุของถังข้าวสาร
17. ปัจจัยภายใน (Intrinsic Factors) ที่ศึกษานิเทศก์ควรสร้างแรงจูงใจภายในให้ครู คือข้อใด
ค. ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่งาน
18. ขั้นตอนสุดท้าย (Post Coaching) ของเทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ ศึกษานิเทศก์มีบทบาทอย่างไร
ก. สรุปผลชี้แนะ ยอมรับความสามารถของครูและให้โอกาสครู สรุปเพื่อปรับปรุงงาน
19. ใครนิเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข. จันทร์เพ็ญ นิเทศแบบคลินิกอย่างเป็นกระบวนการ 3 ครั้ง
20. การทำงานโดยตรงกับครูของศึกษานิเทศก์โดยใช้เทคนิคการนิเทศแบบคลินิก (Clinical Supervision) ในขั้นแรกคือทำอะไร อย่างไร

ก. พูดคุยกับครูก่อนเข้าสังเกตการสอนเกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย จุดเด่นแบบวิธีการบันทึกและแบบสังเกตการสอน
TEPE-00107 การจัดกิจกรรมค่ายนักเรียน/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์  ได้ 20/20
1. ข้อใด ไม่ใช่ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
xข. บำเพ็ญประโยชน์ในกิจกรรมลูกเสือ
2. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมประเภทหนึ่งของหัวข้อใด ต่อไปนี้
xก. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
3. ข้อใดเป็นความหมายของ AAR (After Action Review)
xก. การเปิดใจและการเรียนรู้หลังการทำกิจกรรม เสร็จสิ้นลง เพื่อถอดบทเรียน ชื่นชมความสำเร็จและหาทางพัฒนาให้ดีขึ้น
4. ข้อใด ไม่ใช่ วัตถุประสงค์ของกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
xง. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้โดยเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง และค้นพบข้อความรู้ด้วยตนเอง
5. มัธยมศึกษาตอนต้น ม. 1 – ม. 3 โครงสร้างเวลาในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กำหนดไว้เท่าไร
x ค. 45 ชั่วโมง
6. ทำไมจึงต้องจัด กิจกรรมค่ายนักเรียน
x ง. เพื่อพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษาเด็กให้ได้ตามมาตรฐาน และมีพฤติกรรมตามหลักสูตรกำหนด
7. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 โครงสร้างเวลาในการจัดกิจกรรม กำหนดไว้เท่าไร
x ข. 60 ชั่วโมง
8. ข้อใดเป็น คำจำกัดความ ของการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
xค. กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ในลักษณะ อาสามสมัคร เพื่อช่วยขลัดเกลาจิตใจของผู้เรียนให้มีความเมตตากรุณา เสียสละ เพื่อช่วยสร้างสรรค์สังคม
9. ข้อใด ไม่ใช่ ข้อควรปฏิบัติหลังการทำ AAR
x ค. ความคิดเห็นแต่ละข้อ ตัดสินข้อมูลถูกหรือผิด เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง
10. “การกำหนดผลการเรียนรู้ของการการจัดกิจกรรมค่ายนักเรียน”ต้องครอบคลุมด้านใดบ้าง
xข. ความคิดรวบยอดจากความรู้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านทักษะ
11. ข้อใด คือองค์ประกอบสำคัญของการ “การจัดกิจกรรมค่ายนักเรียน”
xก. การกำหนดเป้าหมาย
12. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ มีผลการประเมินตัดสิน ดังข้อใด
x ก. ผ่าน / ไม่ผ่าน
13. ข้อใดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
x ง. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลังการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อสะท้อนผลที่เกิดกับผู้ปฏิบัติกิจกรรมแล้วสรุปรายงาน และเผยแพร่
14. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกในกระบวนการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
xค. การสำรวจเพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาต่าง ๆ ทั้งภายในโรงเรียน และชุมชน
15. หลักการสำคัญของ AAR คือข้อใด
xข. ให้และรับข้อมูลป้อนกลับฝนบรรยากาศที่เป็นกันเอง โดยพูดเชิงบวกและเปิดโอกาสให้ทุกคนแสดงความคิดเห็น และรับฟังความคิดเห็น
16. ค่ายนักเรียน หมายถึง อะไร
xก. กิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนมีเป้าหมายชัดเจนใช้ระบบกลุ่ม
17. การเขียนกำหนดการ หรือตารางเวลาการจัดกิจกรรมค่าย ไม่เกี่ยวข้องกับข้อใด
x ค. ทีมงานมีความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
18. ข้อใดเป็นกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
xง. สอนหนังสือให้เด็กด้อยโอกาส
19. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
x ก. การกำหนดวัตถุประสงค์ของค่าย คือสิ่งที่คาดหวังให้ผู้เข้าร่วม ได้รับหลังการเข้าร่วมค่าย
20. ในกรณีที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเวลา หรือมีผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ครูที่ปรึกษาควรปฏิบัติดังข้อใด

x ค. ให้ผู้เรียนซ่อมเสริมการทำกิจกรรมให้ครบตามที่สถานศึกษากำหนด
TEPE-00106 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา  ได้ 20/20
1. การสรุปผล อภิปรายผลการวิจัยควรสอดคล้องกับหัวข้อใดมากที่สุด
     -ข. วัตถุประสงค์การวิจัย
2. “ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล” รายละเอียดการเขียนจะอยู่ในส่วนใดของรายงานการวิจัย
     -ข. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
3. บทสรุปสั้น ๆ เกี่ยวกับการดำเนินการทั้งหมดคืออะไร และจะอยู่ส่วนใดของการเขียนรายงานการวิจัย
     -ค. บทคัดย่อและส่วนนำ
4. ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบหาได้จากข้อใด
     -ก. KR-20
5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัย
     -ก. แบบบันทึกคะแนน
6. การกระทำในข้อใดต่อไปนี้ ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของนวัตกรรม
     -ค. ครู ค รณรงค์การทิ้งขยะในโรงเรียนให้เป็นที่อย่างสม่ำเสมอ
7. ข้อไม่เกี่ยวกับการพัฒนาแบบทดสอบ
     -ง. ค่าความน่าเชื่อถือ
8. เรื่องใดที่ต้องระบุในกลุ่มตัวอย่าง
     -ก. วิธีการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง
9. องค์ประกอบหลักของการเขียนรายงานการวิจัยตรงกับข้อใด
     ข. ส่วนนำ – ส่วนเนื้อหา – ส่วนอ้างอิง
10. ข้อเป็นการหาความตรงของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
     ง. การให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
11. “เป็นคำตอบสรุปของผลการวิจัยที่ผู้วิจัยคาดเดาไว้ล่วงหน้า ก่อนเก็บรวบรวมข้อมูล เกิดจากการไตร่ตรองโดยใช้หลักเหตุผลที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด และสามารถทดสอบได้” ข้อความดังกล่าว คือความหมายของข้อใด
     ง. สมมติฐานการวิจัย
12. ข้อใดควรให้คำนิยามศัพท์เฉพาะในการวิจัยชื่อ “การพัฒนาบทเรียนวีดีทัศน์เรื่องการสังเคราะห์แสงของพืช สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนประชาสงเคราะห์”
     ก. บทเรียนวีดีทัศน์
13. ข้อใดเป็นชื่อเรื่องการวิจัยที่ถูกต้องครบองค์ประกอบ
     ก. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องระบบสุริยะสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
14. ข้อใดต่อไปนี้เรียงลำดับการเขียนโครงร่างวิจัยได้ถูกต้อง
     ค. ชื่อเรื่อง ความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน
15. “การระบุให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษากว้างขวางเพียงใดเกี่ยวข้องกับใคร เนื้อเรื่องที่ต้องการพัฒนาและระยะเวลาที่ทำการวิจัย” ข้อความดังกล่าวคือความหมายของข้อใด
     ข. ขอบเขตของการวิจัย
16. “การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องการคูณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนดอกสะเดา” การวิจัยเรื่องนี้ควรใช้เครื่องมือชนิดใดในการเก็บรวบรวมข้อมูล
     ข. แบบทดสอบคู่ขนาน
17. “เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม” วัตถุประสงค์นี้นิยมใช้เครื่องมือชนิดใดในการเก็บข้อมูล
     ก. แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า
18. ข้อใดคือประชากรที่ใช้ในการวิจัย
     ก. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนต้นไม้ ปีการศึกษา 2553 จำนวน 6 ห้องเรียน 240 คน
19. ปัญหาและความสำคัญของการวิจัย ควรนำเสนอในส่วนใดของการเขียนรายงานการวิจัย
     ก. บทที่ 1 บทนำ
20. “การพัฒนาทักษะเรื่องการบวกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1” หัวข้อวิจัยนี้เหมาะสมกับนวัตกรรมประเภทใด
     ง. บทเรียนสำเร็จรูป
TEPE-00104 การสอนแบบบูรณาการสำหรับโรงเรียนขนาดเล็กและห้องเรียนคละชั้น ได้ 14/20
1.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับบทบาทของครูในการสอนห้องเรียนคละชั้น
• ง. ถูกทุกข้อ
2.เทคนิควิธีสอนแบบเพื่อนช่วยสอน ควรใช้ในการจัดกลุ่มแบบใด
• ง. การจัดกลุ่มผสมความสามารถ
3.วิธีการประเมินนักเรียนในข้อใดเหมาะสมที่สุดเพื่อนำมาจัดกลุ่มด้านความรู้ความสมารถ
• ง. การทดสอบ
4.ข้อใดไม่ใช่ แนวทางการเสริมสร้างวินัยและข้อตกลงของห้องเรียน
• ค. การชื่นชมแนวคิดของเพื่อน
5. ในการจัดกลุ่มนักเรียนในชั้นเรียนแบบคละชั้นครูควรคำนึงถึงข้อใดบ้าง
• ง. ถูกทุกข้อ
6. การจัดกลุ่มแบบใดเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดทำให้นักเรียนประสบความสำเร็จมากที่สุด
• ค. การจัดกลุ่มคละความสามารถ
7. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
• ง. ถูกทุกข้อ
8.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้น
• ข. ตอบสนองความต้องการรายบุคคลหรือรายกลุ่มย่อย
9. จำนวนนักเรียนในห้องเรียนคละชั้นที่เหมาะสมคือข้อใด
• ข. 20 คน / ห้อง
10. การจัดสภาพห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้แบบคละชั้นคือข้อใด
• ง. ถูกทุกข้อ
11.ข้อใดคือขั้นตอนการเตรียมตัวของครูผู้สอนในการจัดชั้นเรียนแบบคละชั้น
• ค. วิเคราะห์ข้อมูลเด็ก, กำหนดการสอน, จัดกลุ่มเด็กและเตรียมกิจกรรม, จัดระบบการเรียนรู้
12.คุณลักษณะสำคัญของการใฝ่เรียนรู้คือลักษณะใด
• ก. การเรียนรู้แบบควบคุมตนเองได้
13.ในการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นสิ่งใดที่ครูควรคำนึงถึงในการจัดกลุ่มนักเรียน
• ง. ถูกทุกข้อ
14.การจัดกลุ่มตามความสัมพันธ์ของเด็ก คือเด็กที่เป็นเพื่อนใกล้ชิดหรือมีความสัมพันธ์ทางครอบครัวจะจัดเข้ากลุ่มด้วยกัน เป็นการจัดกลุ่มประเภทใด
• ก. การจัดกลุ่มทางสังคม
15. ลักษณะสำคัญของการจัดชั้นเรียนแบบคละชั้นคืออะไร
• ก. การนำนักเรียนต่างชั้นมาเรียนร่วมกันโดยครูแบ่งเวลาสอนทีละชั้น
16. เพราะเหตุใดครูจึงต้องวัดความรู้พื้นฐานในการการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้น
• ง. ถูกทุกข้อ
17. ในการจัดกิจกรรมการสอนที่ครูต้องชี้แจงกิจกรรมหลักที่จะเรียนรู้ในแต่ละวัน และเป็นการนำเข้าสู่บทเรียนควรใช้กิจกรรมใด
• ค. กิจกรรมสอนรวมชั้น
18. ข้อใดไม่ใช่ หลักการของการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้น
• ก. จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย
19. ข้อใดไม่ใช่ความแตกต่างในการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นและการจัดการเรียนรู้แบบรวมชั้น
• ข. สื่อการเรียนการสอน
20. เป้าหมายสำคัญของการจัดกลุ่มนักเรียนในห้องเรียนคละชั้น คือข้อใด

• ก. จัดกลุ่มเพื่อให้นักเรียนช่วยเหลือกัน
TEPE-02301  การฝึกอบรมพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการ  ได้ 16/20
1. ข้อใดอธิบายเกี่ยวข้องกับผู้นำได้ตรงที่สุด
    ง. ผู้นำ คือความสามารถในการนำไปสู่เป้าหมาย
2. ผู้บริหารระดับสูงควรมีทักษะของผู้นำด้านใดมากที่สุด
     ง. การควบคุมสั่งการ
3. ภาวะผู้นำทางวิชาการแบบใดที่จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาหน่วยงาน
     ก. แบบประชาธิปไตย
4. แนวคิดแบบตาข่าย (Managerial grid) ของเบลคและมูตัน พฤติกรรมผู้นำแบบใดดีที่สุด
     ง. 9.9
5. ข้อใดที่ไม่ใช่แนวทางการจัดการศึกษาของผู้นำทางวิชาการ
     ค. ทำนายคาดหวัง
6. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับกับการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ
    ค. การสนับสนุนครูเข้าร่วมเป็นกรรมการระดับต่างๆ
7. ข้อใดที่ไม่ใช่เป็นการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
    ข. เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
8. ข้อใดกล่าวถึงการประกันคุณภาพการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
    แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) ได้ถูกต้อง
    ค. ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอก ของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุก 5 ปี
9. ขั้นตอนใด เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการในการจัดระบบสารสนเทศ
   ก. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data)
10. ขั้นตอนสุดท้ายของการจัดเก็บสารสนเทศ คือข้อใด
      ง. การใช้ข้อมูลสารสนเทศ (Using Data)
11. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่เชื่อมต่อกันเหมือนใยแมงมุมคือข้อใด
     ข. WWW.
12. ข้อใดไม่ใช่เป็นประโยชน์ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
      ง. ใช้ในการตัดสินใจของผู้บริหาร
13. ข้อใดไม่ใช่ภาวะผู้นำของผู้บริหารในด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
      ค. มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร
14. ข้อใดที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้นำทางวิชาการในด้านการบริหารจัดการหลักสูตร
      ง. ตัดสินใจที่ถูกต้องในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน
15. ข้อใดไม่ใช่เป็นบทบาทของผู้บริหารในฐานะเป็นผู้นำในการจัดการเรียนการสอน
      ก. จะต้องยืดหยุ่นให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้ปกครองนักเรียน
16. ทุกข้อเป็นองค์ประกอบของการจัดการเรียนการสอน ยกเว้นข้อใด
     ง. การสรุปบทเรียน
17. ข้อใดเป็นขั้นตอนของ O ในกระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบ P-A-O-R
     ข. การเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยความรอบคอบ
18. เป้าหมายสำคัญที่สุดของการใช้การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตรงกับข้อใด
      ง. คุณภาพของผู้เรียน
19. ข้อใดเป็นหลักการเลือกนวัตกรรมที่สำคัญที่สุด
      ก. ความเหมาะสม ครอบคลุมประเด็นปัญหา
20. ข้อใดไม่ใช่ผลที่ได้โดยตรงจากการใช้การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ

      ก. ความพึงพอใจของผู้เรียน
TEPE-02201 การนิเทศแนวใหม่ ได้ 15/20
1. ข้อใดเป็นการนิเทศแนวใหม่
- ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมพูดคุยปรึกษาหารือ...หาแนวทางแก้ปัญหา...ข้อมูลเชิงประจักษ์
2. การนิเทศการศึกษา...บุคลากรกลุ่มใด...การจัดการศึกษา
- บุคลากรตามข้อ ก. ข และ ค...ทุกกลุ่ม
3. supervisor...in the classroom หมายถึงข้อใด
- ผู้นิเทศและครูร่วมกันหาแนวทางพัฒนาศักยภาพผู้เรียน...รายบุคคล
4. ข้อใดที่ผู้นิเทศใช้...แบบ Reflective Coaching กับผู้รับการนิเทศ
- ผู้นิเทศใช้คำถามนำการสนทนาและรับฟัง...อย่างตั้งใจ
5. กิจกรรมการนิเทศแนวไม่...ผลกระทบ...เป้าหมายใด
- นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์...สูงขึ้น
6. ข้อใดเป็น"ข้อความสำคัญ" ของการนิเทศแนวใหม่
- ทุกข้อ...การนิเทศแนวใหม่
7. ในยุคความเปลี่ยนแปลง...social network ศึกษานิเทศ...ปรับเปลี่ยนตนเองอย่างไร
- ทั้ง ก ข และ ค
8. กิจกรรมการนิเทศ...ผลลัพธ์(outcome) ที่เป้าหมายใด
- นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
9. การนิเทศ online มีลักษณะสำคัญ...เกิดประโยชน์มากที่สุดอย่างไร
- การได้รับประโยชน์จากแนวคิดและมุมมองที่หลากหลายแลกเปลี่ยนกัน
10. ขั้นตอนสำคัญของเทคนิคการนิเทศแบบ Reflective Coaching...ระยะเริ่มต้นคือ
- การสร้างความคุ้นเคย
11. กิจกรรมใดที่เป็นตัวช่วยการนิเทศ...บรรลุเป้าหมาย
- การใช้สื่อ ICT
12. การนิเทศแนวใหม่จะเกิดประโยชน์สูงสุด...ศึกษานิเทศเปลี่ยนแปลงตนเองอย่างไร
- ทุกข้อคือสิ่งที่...คุณภาพการศึกษาของชาติ
13. กิจกรรมใด...กิจกรรมหลัก...การนิเทศแนวใหม่
- ศึกษานิเทศทำงานร่วมกับครูในชั้นเรียน
14. การนิเทศแนวใหม่...สำเร็จได้...ได้รับการพัฒนาอย่างไร
- พัฒนาตาม IDP ที่ตนเองกำหนดแผนการพัฒนาตนเองไว้แล้ว
15. การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน (PAOR) มีขั้นตอนใดสำคัญที่สุด...ในชั้นเรียน
- การวางแผน(P) การลงมือปฏิบัติ (A)
16. การนิเทศแนวใหม่...ICT ของครูที่มีอายุากอย่างไร
- จัดหาพี่เลี้ยงให้...ให้สามารถดำเนินการได้
17. การนิเทศแนวใหม่ใช้การวิจัยเป็นฐาน...:RBS) ข้อใดถูกต้อง
- การใช้ข้อมูลปัจจุบันกำหนดเป็นปัญหา...แก้ปัญหาร่วมกัน...และครูผู้สอน
18. จากข้อความที่ว่า "ครูพัฒนาตนเอง...ลดน้อยลง"...ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด
- ครูมีความรู้ความสามารถ...ศึกษานิเทศมืออาชีพ
19. กิจกรรมใดที่เป็นกระบบวนการหลัก...การนิเทศแนวใหม่
- ศึกษานิเทศทำงานร่วมกับครูในชั้นเรียน
20. กิจกรรมการนิเทศแนวใหม่...ผลการเปลี่ยนแปลง(output) ที่เป้าหมายใด

- พฤติกรรมการสอนของครู
TEPE-02136 การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง  ได้ 15/20
1. ข้อใดเป็นความหมายของการประเมินตามสภาพจริง
ง. การประเมินจากภาระงานและกิจกรรมที่สอดคล้องกับชีวิตจริงในแบบบูรณาการ
2. ลักษณะสำคัญของการประเมินตามสภาพจริงคือข้อใด
ค. ประเมินความสามารถของผู้เรียนเพื่อค้นหาจุดเด่นในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพของตนเอง
3. การประเมินผลสำเร็จในการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ให้ข้อมูลตรงกับสภาพที่แท้จริงของผู้เรียนคือวิธีใด
ข. การตรวจผลงานที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการเรียนรู้
4. “อธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาติที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนฤดูกาลได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล”จัดเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ด้านใด
ง. เป็นได้ทั้งด้านความรู้และกระบวนการ
5. “เขียนบทความเพื่อแนะนำการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพได้” มาตรฐานการเรียนรู้นี้ดีหรือไม่เพราะเหตุใด
ก. ไม่ดี เพราะวัดและและประเมินได้ยาก
6. องค์ประกอบของแบบประเมินตามสภาพจริง ต้องมีองค์ประกอบที่สำคัญคือข้อใด
ข. เกณฑ์การประเมิน และคำอธิบายระดับคุณภาพของแต่ละเกณฑ์
7. ข้อใดกล่าวถึงภาระงานตามสภาพจริงได้ถูกต้อง
ง. ถูกทุกข้อ
8. การกำหนดให้นักเรียนทำกิจกรรมใดที่ได้ผลการประเมินน่าเชื่อถือที่สุด
ก. เสนอผลงานที่ได้การสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์
9. ครูให้ วิทย์ธวัช นำเสนอข่าวหนังสือพิมพ์โดยการอ่านให้เพื่อนในชั้นฟัง ควรใช้วิธีการใดที่เหมาะสมที่สุดในการประเมิน
ก. ให้นักเรียนในชั้นสรุปสาระสำคัญของข่าวที่ได้ฟัง
10. ข้อใดครอบคลุมลักษณะที่ดีของเกณฑ์การประเมิน
ง. ระบุพฤติกรรมที่สังเกตได้ชัดเจน กระชับ เข้าใจง่าย
11. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดเกณฑ์การประเมิน
ข. ต้องประเมินให้ครบทุกกิจกรรม
12. เกณฑ์การประเมินที่สอดคล้องกับภาระงานควรมีลักษณะอย่างไร
ก. สามารถยืดหยุ่นและใช้ได้กับทุกสถานการณ์
13. หากแบบประเมินตามสภาพจริงมีเพียงคำบอกระดับคุณภาพ แต่ไม่มีการอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน จะมีผลอย่างไร
ค. ยากต่อการจัดประเภทของผลงานได้ตามคุณภาพจริง
14. “การใช้เกณฑ์การประเมินโดยวิเคราะห์ผลงานของผู้เรียนที่สามารถอธิบายระดับคุณภาพของผลงานขึ้นมาก่อนว่าควรพิจารณาประเด็นใดบ้างแล้วจึงอธิบายระดับความสำเร็จในแต่ละประเด็น”เป็นคำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนนแบบใด
ข. แบบการให้คะแนนตามองค์ประกอบย่อย
15. จากชุดคำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนนดังต่อไปนี้ ควรเป็นการประเมินในหัวข้อใด
คะแนน 1เนื้อหาสาระส่วนใหญ่ไม่ตรงประเด็น                  คะแนน 2 เนื้อหาสาระบางส่วนไม่ตรงประเด็น
คะแนน 3 เนื้อหาสาระทั้งหมดตรงประเด็น
ข. ความตรงของเนื้อหาสาระ
16. ผลงานในแฟ้มแสดงผลการเรียนรู้ สะท้อนให้เห็นถึงสิ่งใดบ้าง
1) องค์ความรู้ในวิชาที่เรียน และแนวทางหรือวิธีการคิดที่ใช้ในการศึกษาเรื่องเหล่านั้น
2) แนวทางในการประยุกต์ใช้ความรู้ ที่จะนำไปใช้ในการหาความรู้เพิ่มเติม
3) การแสดงออกถึงความคิดหรือความสามารถต่างๆ เช่น การตัดสินใจ
4) ผลงานที่ผู้เรียนได้ประดิษฐ์ คิดค้น หรือกิจกรรมการทดลอง
ง. ข้อ 1), 2), 3) และ 4) ถูกต้อง
17. ข้อใดเป็นการประเมินแฟ้มผลการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจัดทำขึ้นที่ดีที่สุด
ข. การประเมินพัฒนาการของผู้เรียน สามารถทำได้โดยตัวผู้เรียนเอง เพื่อน ผู้สอน และผู้ปกครอง
18. สิ่งที่ต้องพิจารณาเป็นสิ่งแรกก่อนที่ผู้สอนและผู้เรียนตัดสินใจร่วมกันแล้วว่าจะจัดทำแฟ้มแสดงผลการเรียนรู้ คือข้อใด
ค. การศึกษาเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและรายวิชาที่สอน
19. ข้อใดที่ไม่ใช่ประโยชน์ที่แท้จริงที่จะเกิดกับผู้เรียน ในขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำแฟ้มสะสมผลงานการเรียนรู้
ข. ผู้เรียนได้รับการตัดสินผลการเรียนในรายวิชา
20. ข้อใดถือเป็นเอกสารในแฟ้มสะสมผลงานการเรียนรู้ที่เหมาะสม
ง. ทุกข้อรวมกัน
TEPE-02135 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ: การจัดการเรียนรู้รูปแบบกระบวนการแก้ปัญหา ได้ 17/20
1. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ ในการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
ค. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์
2. การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูควรมีบทบาทในการประเมินอย่างไรบ้าง
          ง. ประเมินทั้ง ก ข และ ค
3. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา ขั้นตอนใดที่ครุผู้สอนต้องเน้นให้ผู้เรียนทำความเข้าใจให้ถ่องแท้
          ข. ขั้นตั้งสมมติฐาน
4. ข้อใดไม่ใช้ขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
          ง. ทุกข้อเป็นขั้นตอน
5. “วิธีแก้ปัญหานี้ น่าจะแก้ไขได้ด้วยวิธีใดบ้าง” ถ้าคุณครูใช้คำถามนี้กระตุ้นผู้เรียนให้ตอบ จัดเป็นขั้นตอนใดของการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
          ข. ขั้นตั้งสมมติฐาน
6. พฤติกรรมผุ้เรียนที่ครูกระตุ้นให้เกิดเมื่อจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
          ข. ฝึกการคิดอย่างเป็นขั้นตอน
7. ท่านไม่ควรปฏิบัติตนตามข้อใด เมื่อจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
          ค. คอยช่วยเหลือและบอกคำตอบแก่ผู้เรียน
8. “ถ้าผู้เรียนขาดทักษะนี้แล้วจะส่งผลให้ไม่ได้ข้อมูลเพียงพอจะสรุป” หมายถึงขั้นตอนใด
          ข. การค้นคว้าข้อมูล
9. จะเกิดขึ้นได้จากการสังเกต การรวบรมข้อมูล ข้อเท็จจริงและประสบการณืเดิม มาคาดคะเนคำตอบ เป็นขั้นตอนใดของการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
          ข. ขั้นตั้งสมมติฐาน
10. แนวคิดพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหาทางด้านปรัชญามาจากกลุ่มใด
          ง. กลุ่มประสบการณ์นิยม
11. การจัดการเรียนรู้รูปแบบกระบวนการแก้ปัญหาบังเกิดผลอย่างไรกับผู้เรียน
          ก. ผู้เรียนคิดอย่างเป็นระบบเป็นขั้นตอน
12. บทบาทของครูผู้สอนที่สำคัญในการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหาคือข้อใด
          ก. กำหนดขั้นตอนกิจกรรม
13. การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหามีจุดเด่นอย่างไร
          ง. ถูกทุกข้อ
14. ข้อใดคือขั้นการกำหนดปัญหา
          ก. การเล่าเรื่อง
15. แนวคิดพื้นฐานสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหาคือข้อใด
          ง. การนำปัญหามากระตุ้นความสนใจในการเรียน
16. “คำถามเล็ก ๆ แต่มันคือคำตอบอันยิ่งใหญ่ของเด็ก” ท่านควรทำอย่างไรกับคำพูดนี้
          ง. ให้ความสนใจการตอบคำถามของผู้เรียน
17. ข้อใดเป็นหลักการในการเลือกกำหนดสถานการณ์
          ค. เป็นปัญหาที่อยู่ใกล้ตัวผู้เรียน
18. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
          ค. การแก้ปัญหาเรื่องของคนรายได้น้อย
19. ถ้าผู้เรียนขาดทักษะนี้ แล้สจะส่งผลให้ขาดสาระ/ข้อมูลที่เพียงพอต่อการสรุป ข้อความที่ขีดเส้นใต้หมายถึงขั้นตอนใด
          ค. ขั้นรวบรวมข้อมูล
20. โจทย์: หลักการจัดการเรียนรู้รูปแบบกระบวนการแก้ปัญหาช่วยพัฒนาความคิดของผู้เรียนอย่างเป็นลำดับขั้นตอน โดยใช้กระบวนการใด

          ข. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์